![]() ![]() |
![]() ดัชนีราคาผู้บริโภค
ดัชนีราคาผู้บริโภคกำเนิดขึ้นจากความต้องการศึกษาชีวิตความเป็นอยู่ของครอบครัว และการวัดระดับการครองชีพของประชากร เพื่อยกระดับมาตรฐานการครองชีพของประชาชนให้ดียิ่งขึ้น แนวความคิดพื้นฐานของดัชนีราคาผู้บริโภค พัฒนามาจากแนวความคิดของดัชนีค่าครองชีพ (COST OF LIVING INDEX) ซึ่งต้องการวัดค่าใช้จ่ายในการบริโภคของผู้บริโภคในเดือนหนึ่ง E โดยยังคงรักษามาตรฐานการครองชีพตามระดับที่กำหนดไว้ไดE ซึ่งเป็นไปได้ยากในทางปฏิบัติ เนื่องจากมาตรฐานการครองชีพยังขึ้นกับปัจจัยอื่น E ได้แกEรายไดEจำนวนสมาชิกในครอบครัว ภาษี คุณภาพสินค้า เทคโนโลยีที่เปลี่ยนไปและราคาสินค้าที่เปลี่ยนแปลง ดังนั้น ได้มีการนำดัชนีราคาผู้บริโภคให้มีปริมาณและลักษณะของสินค้า แต่เปลี่ยนแปลงเฉพาะราคาสินค้าเท่านั้น แก้ปัญหานี้โดยการกำหนดให้กลุ่มสินค้าอุปโภคและบริโภคที่ประชาชนใช้บริโภคคงทีEnbsp; แทนการกำหนดให้มาตรฐานการครองชีพคงที่และวัดค่าใช้จ่ายในการบริโภคของเดือนหนึ่ง E เพื่อผู้บริโภคยังคงบริโภคสินค้าและบริการอย่างเดิม ถึงแม้ดัชนีราคาผู้บริโภคจะไม่สามารถแทนดัชนีค่าครองชีพได้อย่างสมบูรณE แต่อาจกล่าวได้ว่าดัชนีราคาผู้บริโภคเป็นตัวประมาณค่าดัชนีค่าครองชีพได้ดีในเรื่องของค่าใช้จ่ายในการบริโภค ประวัติการจัดทำดัชนีราคาผู้บริโภคในประเทศไทย การจัดทำดัชนีราคาในประเทศไทย ได้เริ่มขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ. 2486 โดยกรมการสนเทศ แต่เป็นการจัดทำเพื่อใช้ภายในหน่วยงานราชการเท่านั้น ต่อมาได้มีการปรับปรุงและพัฒนาเป็นลำดับจนได้เผยแพร่ครั้งแรก ปี พ.ศ. 2491 โดยใช้ปี 2491 นี้เป็นฐานในการพัฒนาปรับปรุงการจัดทำดัชนีราคา จนมาเป็นดัชนีราคาผู้บริโภคในปัจจุบันนั้น สามารถแบ่งคร่าว Eได้เป็น 3 ระยะ ดังนีEnbsp; ระยะทีE1 ระยะเริ่มต้น (ปี 2486 - 2504)
ได้มีการจัดทำดัชนีราคา ที่เรียกว่า ดัชนีค่าครองชีพ โดยมีวัตถุประสงคEพื่อวัดการเปลี่ยนแปลงค่าใช้จ่ายของคนงาน และข้าราชการที่มีรายได้น้อยในกรุงเทพฯ มีรายการสินค้าที่สำรวจเพียง 21 รายการเท่านั้น ดัชนีชุดนี้มีการคำนวณเผยแพร่ตั้งแต่ปี 2491 และพัฒนามาเป็นดัชนีราคาผู้บริโภคในปัจจุบัน
ได้มีการคำนวณดัชนีราคาอย่างง่าย Eโดยไม่มีการถ่วงน้ำหนัก เป็นราคาเฉลี่ยสัมพัทธE ของสินค้า 58 ชนิด ที่ซื้อขายในกรุงเทพฯ โดยดัชนีชุดนี้มีการจัดทำตั้งแต่ปี 2491 ถึงปี 2505 ระยะทีE2 ระยะพัฒนา (ปี 2505 E2519) ในช่วงต้นของยุคนี้ได้มีการปฏิรูป การจัดทำดัชนีราคาผู้บริโภคของประเทศไทย ครั้งใหญEให้มีการจัดทำตามระบบสากลมากขึ้น การปฏิรูปครั้งนั้นประสบความสำเร็จเนื่องจากปัจจัย 2 ประการ คือ
ระยะทีE3 ระยะสืบสานและก้าวหน้า (ปี 2519 Eปัจจุบัน) ระยะนี้เป็นระยะที่มีการจัดทำดัชนีราคาผู้บริโภคเข้าสู่ระบบสากลแล้ว มีการปรับปรุงน้ำหนัก และรายการสินค้าเป็นระยะ E เพื่อให้สอดคล้องกับพฤติกรรมการบริโภคที่เปลี่ยนไป มีการปรับปรุงการจัดทำดัชนีราคาผู้บริโภคให้ทันสมัยอยู่ตลอดเวลาตามวิทยาการที่ก้าวหน้าขึ้น มีการปรับปรุงน้ำหนักและรายการสินค้า ดังนีE/FONT>
ขั้นตอนการจัดทำ ดัชนีราคาผู้บริโภค เป็นตัวชี้วัดการเปลี่ยนแปลงราคาสินค้าและบริการ โดยเฉลี่ยที่ผู้บริโภคจ่ายไป สำหรับกลุ่มสินค้าและบริการที่กำหนด กลุ่มสินค้าและบริการที่กำหนด มีคำเฉพาะเรียกว่า ตะกร้าสินค้า (Market Basket) คือ กลุ่มสินค้าและบริการที่กลุ่มผู้บริโภคเป้าหมายส่วนใหญ่ซื้อมาบริโภคเป็นประจำ การจัดตะกร้าสินค้านั้น ได้ข้อมูลมาจากการสำรวจค่าใช้จ่ายการบริโภคของผู้บริโภคกลุ่มเป้าหมาย การวัดการเปลี่ยนแปลงในราคานั้น จะเปรียบเทียบราคาสินค้าในช่วงระยะเวลาหนึ่ง E กับราคาสินค้าอย่างเดียวกันในช่วงเวลาตั้งต้น ซึ่งมีคำเฉพาะเรียกว่าปีฐาน (Base Year) ในทางปฏิบัติ ปีฐานหมายถึงปีที่กำหนดให้ตัวเลขดัชนีมีค่าเท่ากับ 100 น้ำหนัก (Weight) เป็นคำที่ควรทราบในเรื่องดัชนีราคา หมายถึงการให้ความสำคัญของสินค้าแต่ละรายการในตะกร้าสินค้าแตกต่างกัน เพราะในการทำดัชนีราคาจะใช้ค่าเฉลี่ยแบบถ่วงน้ำหนักของราคาสินค้าทุกรายการในตะกร้าสินค้า สินค้าที่ผู้บริโภคใช้จ่ายในการบริโภคมากจะมีความสำคัญมาก นั่นคือ มีน้ำหนักมาก การจัดทำน้ำหนักของสินค้าในตะกร้าสินค้าก็จะต้องอาศัยข้อมูลจากการสำรวจค่าใช้จ่ายของผู้บริโภคเช่นกัน กำหนดวัตถุประสงคEละลักษณะครัวเรือนดัชนีราคา ในการจัดทำดัชนีราคา ขั้นแรกและสำคัญที่สุด คือ การกำหนดวัตถุประสงคE ให้ชัดเจนว่าดัชนีราคาที่จัดทำมีวัตถุประสงคEพื่ออะไร ต้องการวัดหรือชี้อะไร สำหรับประเทศไทยปัจจุบันได้กำหนดกรอบลักษณะของครัวเรือนตัวอย่างที่ใช้วัด เป็น 3 ชุด ซึ่งมีวัตถุประสงคE่างกัน ดังนีE/FONT>
การสำรวจค่าใช้จ่ายของครัวเรือนดัชนี ในการสร้างดัชนีราคาผู้บริโภคจำเป็นต้องทำการสำรวจค่าใช้จ่ายของครัวเรือนดัชนีซึ่งได้กำหนดกรอบไว้เรียบร้อยแล้ว เพื่อต้องการทราบสินค้าและบริการที่ครัวเรือนต่าง Eใช้จ่ายในการดำรงชีพเป็นอย่างไร เพื่อนำไปใช้เป็นน้ำหนักที่จะให้ความสำคัญมากน้อยแก่สินค้าและบริการที่ครัวเรือนใช้จ่ายไปตามลำดับ ซึ่งมีผลทำให้ทราบถึงลักษณะการดำรงชีพของประชากรในระดับต่าง Eเกี่ยวกับรายไดE รายจ่าย และการออมและเกี่ยวเนื่องถึงลักษณะการบริโภคและชี้วัดความเป็นอยู่ของพลเมืองส่วนใหญ่ว่ามีลักษณะการบริโภคและการดำรงชีพอย่างไร ในการสำรวจค่าใช้จ่ายของครัวเรือนในประเทศไทยจะจัดโดยสำนักงานสถิติแห่งชาติ และกระทรวงพาณิชยEะนำผลการสำรวจมาใช้ในการจัดทำดัชนีราคาผู้บริโภค การจัดทำน้ำหนัก (Weight) และความสำคัญเปรียบเทียบ (Relative importance) ของรายการสินค้า ดัชนีราคาผู้บริโภคคำนวณจากค่าเฉลี่ยของการเปลี่ยนแปลงราคาของรายการสินค้าต่าง E ในพื้นทีEแต่เนื่องจากรายการสินค้าแต่ละรายการมีความสำคัญไม่เท่ากัน ขึ้นกับค่าใช้จ่ายที่ผู้บริโภคใช้จ่ายและจำนวนผู้บริโภคที่ใช้จ่ายในรายการนั้น E รายการสินค้าที่มีการใช้จ่ายในการบริโภคมากจะมีความสำคัญมาก ในทางตรงกันข้ามราคาสินค้าที่มีการใช้จ่ายในการบริโภคน้อยก็มีความสำคัญน้อย ค่าใช้จ่ายในการบริโภคของแต่ละรายการสินค้าที่ได้จากการสำรวจ จะนำมาคำนวณเปรียบเทียบสัดส่วนกัน เพื่อหาน้ำหนักของแต่ละรายการสินค้า รายการสินค้าที่มีค่าใช้จ่ายมากจะมีน้ำหนักมาก รายการสินค้าที่มีค่าใช้จ่ายน้อยจะมีน้ำหนักน้อย น้ำหนักของแต่ละรายการสินค้าจะคงที่ตลอดการคำนวณดัชนีราคาจนกว่าจะมีการจัดทำน้ำหนักใหม่จึงจะเปลี่ยนแปลงอีกครั้งหนึ่ง ส่วนความสำคัญเปรียบเทียบนั้น เป็นการเปรียบเทียบสัดส่วนค่าใช้จ่ายของผู้บริโภคในรายการสินค้าต่าง Eในเดือนหนึ่ง Eที่เกิดขึ้น ค่าใช้จ่ายนี้คำนวณจากประมาณการบริโภคสินค้า (หรือน้ำหนักของรายการสินค้าซึ่งกำหนดให้คงทีE คูณกับราคาสินค้านั้น E ที่เปลี่ยนแปลงไปในแต่ละเดือน ฉะนั้นความสำคัญเปรียบเทียบของแต่ละรายการสินค้าจะเปลี่ยนแปลงทุกเดือนด้วย ส่วนจะเปลี่ยนแปลงมากน้อยขึ้นกับอัตราการเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้านั้น E ในแต่ละเดือน สินค้าที่มีอัตราการเปลี่ยนแปลงราคาสูงกว่าอัตราการเปลี่ยนแปลงเฉลี่ยของราคาสินค้าทั้งหมดในตะกร้าสินค้า สินค้านั้นก็จะมีความสำคัญเปรียบเทียบเพิ่มขึ้น ในทางตรงข้ามสินค้าที่มีอัตราการเปลี่ยนแปลงราคาต่ำกว่าอัตราการเปลี่ยนแปลงโดยเฉลี่ยของราคาสินค้าทั้งหมดในตะกร้าสินค้า สินค้านั้นจะมีความสำคัญเปรียบเทียบลดลง การคำนวณความสำคัญเปรียบเทียบของรายการสินค้าในแต่ละเดือน จะชี้ให้เห็นถึงผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงราคาของรายการสินค้านั้น E ต่อดัชนีราคาผู้บริโภคทั้งหมดในเดือนหนึ่ง E/FONT> ขั้นตอนในการจัดทำน้ำหนัก มีดังนีE/FONT>
ในทางปฏิบัติบางทีจะมีการพิจารณาด้วยว่า เมื่อรวมน้ำหนักของรายการสินค้าที่ไม่ถูกคัดเลือกเข้าไป จะต้องไม่ทำให้รายการสินค้าที่ถูกเพิ่มน้ำหนักมีน้ำหนักมากเกินไป เพราะอาจจะทำให้รายการสินค้านั้นมีความสำคัญมากเกินความเป็นจริง ส่งผลให้ความเคลื่อนไหวของราคาสินค้านั้น E กระทบต่อความเปลี่ยนแปลงของดัชนีมากเกินไป
น้ำหนักที่คำนวณของแต่ละรายการสินค้าจะคงทีE และใช้ตลอดการคำนวณดัชนีราคาผู้บริโภคนั้น จนกว่าจะมีการปรับปรุงรายการสินค้าและน้ำหนักจากการสำรวจค่าใช้จ่ายในการบริโภคครั้งใหมE/FONT> การจัดหมวดหมู่สินค้า โดยทั่วไปสินค้าที่นำมาคำนวณดัชนีราคาผู้บริโภคของประเทศต่าง Eรวมทั้งประเทศไทย จะแยกออกเป็นหมวดใหญEEไดE7 หมวด คือ
ในแต่ละหมวดใหญ่เหล่านีE ยังได้จำแนกออกเป็นหมวดย่อย Eได้ดังนีE/FONT>
การเลือกรายการสินค้า จากข้อมูลการสำรวจค่าใช้จ่ายของครัวเรือนดัชนี ทำให้ทราบรายการสินค้าและบริการที่ครัวเรือนดัชนีใช้จ่าย พร้อมมีความสำคัญของแต่ละรายการสินค้าและบริการ (โดยดูจากค่าใช้จ่ายของครัวเรือนดัชนีในแต่ละรายการสินค้า) จำนวนหนึ่งเพื่อใช้ในการคำนวณแทนสินค้าและบริการทั้งหมด หลักเกณฑEนการเลือกรายการสินค้า ในทางปฏิบัติที่ไม่ใช่สินค้าและบริการทุกรายการที่ครัวเรือนดัชนีใช้จ่ายมาจัดทำดัชนี แต่จะเลือกรายการสินค้า โดยมีวิธีการดังนีE/FONT>
การเลือกตัวอย่าง ในการเลือกทำดัชนีราคาผู้บริโภค นอกจากความถูกต้องน่าเชื่อถือแล้ว อีกสิ่งหนึ่งที่ควรคำนึงถึง คือ ความรวดเร็วทันต่อเวลา การจัดเก็บราคาสินค้าทุก E ชนิดในแต่ละรายการและทุกท้องทีEทุกร้าน จะทำให้ล่าช้ามาก และเสียค่าใช้จ่ายสูง ดังนั้น จึงจำเป็นต้องมีการคัดเลือกตัวอย่างในการจัดเก็บราคาสินค้า การกำหนดลักษณะจำเพาะของสินค้า จากผลการสำรวจค่าใช้จ่ายของครัวเรือนดัชนี และการคัดเลือกรายการสินค้า จะทำให้ทราบรายการสินค้าทุกรายการที่จะจัดเก็บราคา แต่ก่อนที่จะให้เจ้าหน้าที่ดำเนินการจัดเก็บราคานั้นจะต้องมีการกำหนดรายละเอียดลักษณะจำเพาะของสินค้าที่จะจัดเก็บราคาให้แน่ชัดเสียก่อนเนื่องจาก
ตามวิธีการคำนวณดัชนีราคาแบบลาสแปรEมีหลักเกณฑE่า สินค้าที่จะเก็บราคาต้องเป็นสินค้าชนิด ขนาด ลักษณะและตราเดียวกัน เพื่อประโยชนEนการเปรียบเทียบราคา ฉะนั้นจึงต้องมีการกำหนดลักษณะจำเพาะของสินค้าแต่ละรายการให้แน่ชัดเสียก่อน และจะจัดเก็บราคาสินค้านั้นตลอดไปจนกว่าจะมีการเปลี่ยนแปลง เช่น รายการสินค้านั้นไม่เป็นที่นิยมอีกต่อไป หรือสินค้านั้นขาดหายไปจากท้องตลาดหรือเลิกผลิต ก็จะมีการกำหนดลักษณะจำเพาะของรายการสินค้านั้น EใหมE/FONT> การเลือกหรือกำหนดลักษณะจำเพาะของสินค้า มีอยูE2 วิธี คือ วิธีทีE1 วิธีการกำหนดโดยการพิจารณา เป็นการกำหนดลักษณะจำเพาะของสินค้า โดยเลือกสินค้าชนิด ขนาด ลักษณะและตราที่นิยมใช้อย่างแพร่หลายในท้องตลาด ในขณะนี้ในสำนักดัชนีเศรษฐกิจการค้าใช้วิธีการนี้เนื่องจากสะดวก ไม่ซับซ้อน สินค้าที่ถูกคัดเลือกโดยวิธีนี้จะเหมือนกันทุกท้องทีE/FONT> วิธีทีE2 การกำหนดโดยการสุ่มทางสถิติวิธีนี้ใช้หลักสถิติในการเลือกสินค้า โดยมีหลักว่าสินค้าแต่ละชนิดในรายการสินค้านั้นๆมีโอกาสที่จะถูกเลือกเป็นตัวแทน แต่ด้วยความน่าจะเป็นที่ไม่เท่ากัน ขึ้นกับปริมาณยอดขายของสินค้าแต่ละชนิดในท้องตลาด วิธีการนี้มีความซับซ้อนกว่าแต่ไม่มีความเอนเอียง (Unbiasness) ในการเลือก การเลือกโดยวิธีนี้ลักษณะจำเพาะของสินค้าในรายการเดียวกันอาจจะไม่เหมือนกันในแต่ละท้องทีE ขึ้นกับผลการสุ่ม แต่มีข้อดี คือ
การกำหนดพื้นที่จัดเก็บราคาสินค้า หลังจากกำหนดวัตถุประสงคEนการจัดทำดัชนี และกำหนดลักษณะครัวเรือนดัชนีแล้วขั้นตอนต่อไปคือการคัดเลือกตัวอย่างจังหวัดจากพื้นที่ทั้งหมด เพื่อเป็นตัวแทนในการจัดเก็บราคา
การกำหนดแหล่งจัดเก็บราคา บางประเทศที่มีการพัฒนาการจัดทำดัชนีราคาอย่างมาก จะมีการสำรวจร้านค้าและแหล่งขายสินค้าที่ผู้บริโภคกลุ่มเป้าหมายนิยมไปจับจ่ายใช้สอย เพื่อเป็นข้อมูลการกำหนดแหล่งจัดเก็บราคา พร้อมกันนี้อาจจะมีการหมุนเวียนแหล่งจัดเก็บราคาเป็นระยะ E เพื่อให้การจัดเก็บราคาเป็นไปอย่างทั่วถึงและทันสมัยด้วย สำหรับในประเทศไทยยังไม่มีการสำรวจร้านค้าหรือแหล่งขายสินค้า เนื่องจากข้อจำกัดด้านงบประมาณและกำลังคน จึงได้วางกฎเกณฑEนการเลือกตลาดเพื่อจัดเก็บราคา ดังนีE/FONT>
การจัดเก็บราคา ในการจัดเก็บราคาสินค้า เจ้าหน้าที่จะมีแบบฟอรEที่กำหนดรายการสินค้าและลักษณะจำเพาะ เพื่อให้เจ้าหน้าที่จดบันทึกข้อมูลราคา เจ้าหน้าที่ทุกคนจะได้รับการฝึกอบรมและมีการตรวจสอบจากเจ้าหน้าที่ดูแลในเรื่องการจัดทำดัชนีราคาเป็นระยะ Eเพื่อให้แน่ใจว่าข้อมูลราคาที่นำมาทำดัชนีนั้นถูกต้อง และรวดเร็วทันเวลา
ค่าเช่าบ้าน ในการจัดทำดัชนีราคาผู้บริโภค ราคาค่าเช่าบ้านที่อยู่อาศัยเป็นปัจจัยสำคัญที่แสดงการเคลื่อนไหวของราคา เช่นเดียวกับการเคลื่อนไหวของราคาสินค้าบริโภคอุปโภคอื่น Eซึ่งเป็นหนึ่งในปัจจัย 4 ที่มีความจำเป็นต้องการดำรงชีพน้ำหนักค่าใช้จ่ายสำหรับค่าเช่าบ้านในปี 2537 ซึ่งเป็นปีฐานในการคำนวณดัชนีราคาผู้บริโภคทั่วไปของประเทศในหมวดเคหสถานคิดเป็นร้อยละ 24.01 และเพิ่มน้ำหนักของค่าเช่าบ้านประมาณร้อยละ 17 ของน้ำหนักทั้งหมดในการคำนวณ ดังนั้น จึงมีความจำเป็นที่จะต้องศึกษาปัจจัยที่กำหนดราคาในรายการดังกล่าวให้ชัดเจนและถูกต้อง นอกจากนีEพฤติกรรมการเลือกที่อยู่อาศัยของประชากรในเมืองใหญEE มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบไปจากเดิม ประชากรที่เคยเช่าบ้านเพื่ออยู่อาศัย ก็เปลี่ยนมาเป็นการเช่าห้องชุด ได้แกEอพารEเม้นสEคอนโดมิเนียม และแบบชั้นมากขึ้น ฉะนั้น ในการจัดทำค่าเช่าบ้านจะมีสำรวจและพัฒนาใหม่ประมาณ 4 E5 ปี ต่อครั้ง วิธีการจัดทำตัวอย่างบ้านเช่า การกำหนดขอบเขตของพื้นที่บ้านเช่า
ส่วนภูมิภาค แบ่งออกเป็น 4 ภาค รวม 38 จังหวัด โดยใช้ตัวอย่างจังหวัดที่เป็นแหล่งจัดเก็บราคาสินค้าสำหรับการคำนวณดัชนีราคาผู้บริโภคเพื่อให้แบบแผนการค่าใช้จ่ายสอดคล้องกัน คือ
การคำนวณดัชนีราคา การคำนวณดัชนีราคาผู้บริโภค คือ การหาสัดส่วน ค่าใช้จ่ายในการซื้อสินค้า (ในตะกร้าสินค้าที่กำหนด) ตามราคาสินค้าของเดือนปัจจุบัน (เดือนที่คำนวณดัชนี) เทียบกับค่าใช้จ่ายในการซื้อสินค้า (ในตะกร้าสินค้านั้น) ณ. ปีฐาน สูตรที่ใช้คำนวณดัชนีราคาผู้บริโภคปัจจุบันใช้สูตรของ ลาสแปรE(Laspeyres Formula) ซึ่งได้ดัดแปลงเพื่อให้เหมาะสำหรับการคำนวณวัดความเคลื่อนไหวของราคาสินค้า เมื่อเปรียบเทียบกับระยะเวลาที่กำหนดไวE และสามารถแก้ไขปัญหาเรื่องการเชื่อมต่อของราคา เนื่องจากการสับเปลี่ยนสินค้า เปลี่ยนลักษณะคุณภาพจำเพาะใหม่เพิ่มรายการคำนวณหรือตัดรายการคำนวณ สูตรนี้ได้แกE/FONT>
การรายงานดัชนีราคาผู้บริโภค
สำนักดัชนีเศรษฐกิจการค้าจะเผยแพรEและรายงานดัชนีราคาผู้บริโภคทุก Eเดือน
การรายงานการเคลื่อนไหวของดัชนีราคามักจะเปรียบเทียบในรูปของร้อยละมากกว่าที่จะเปรียบเทียบตัวเลขของดัชนีราคาโดยตรง
ประโยชนEองดัชนีราคาผู้บริโภค ประโยชนEองดัชนีราคาผู้บริโภค มีดังนีEคือ
การคำนวณค่าของเงินที่แท้จริง
ถึงแม้ดัชนีราคาผู้บริโภคจะใช้ประโยชนEนหลาย Eด้าน แต่ก็มีข้อจำกัดในการนำมาใชE และแปลผล คือ
ภาวะเงินเฟ้อ ภาวะเงินเฟ้อเป็นภาวะทางเศรษฐกิจที่ค่าของเงินลดลงเนื่องจากราคาสินค้าโดยทั่วไปสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง จึงได้ใช้การเปลี่ยนแปลงราคาเฉลี่ยเป็นเครื่องชี้ความรุนแรงของภาวะเงินเฟ้อ หากราคาเฉลี่ยสูงขึ้นเพียงครั้งเดียวและไม่ต่อเนื่อง ก็จะไม่เรียกว่าประเทศมีภาวะเงินเฟ้อ แต่ถ้าราคาสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง และอัตราการเปลี่ยนสูงก็จะถือว่าภาวะเงินเฟ้อมีความรุนแรง สาเหตุของภาวะเงินเฟ้อ ในทางทฤษฎี เมื่อนักเศรษฐศาสตรEกล่าวถึง ภาวะEเงินเฟ้อ ก็มักจะหมายถึงช่วงเวลาที่ค่อนข้างยาว เช่น 1 ปี หรือ 6 เดือน จึงมักจะกล่าวว่าสาเหตุสำคัญก็คือ เศรษฐกิจรวม มีปริมาณเงินมากกว่าปริมาณสินค้าและบริการในช่วงเวลาเดียวกันนั้น เมื่อเงินหมุนเวียนในระบบมีมากกว่าปริมาณสินค้าและบริการ ก็จะฉุดให้ระดับราคาโดยทั่วไปสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องในช่วงเวลาดังกล่าว เพราะปริมาณสินค้าและบริการไม่สามารถขยายตัวได้เร็วเท่ากับการขยายตัวของปริมาณเงินที่ถือโดยสาธารณชน ดังนั้นในทางเศรษฐศาสตรEารเยียวยาแก้ไขภาวะเงินเฟ้อจึงเป็นเรื่องของการใช้มาตรการทางการเงินและการคลังที่เหมาะสม แต่ในทางปฏิบัติหรือในชีวิตประจำวันทั่วไปได้มีการติดตามภาวะเงินเฟ้อในระยะสั้น เช่น เดือนต่อเดือน ดังนั้น จึงมีการอธิบายสาเหตุของภาวะเงินเฟ้ออย่างง่าย E ว่ามีสาเหตุ 3 ประการ
โดยปกติแล้ว เมื่อรายได้สูงขึ้นความต้องการสินค้าก็จะสูงขึ้น
และราคาโดยทั่วไปก็จะสูงขึ้น ซึ่งจะฉุดให้การผลิตขยายตัวเพื่อสนองความต้องการนั้น
และในระบบเศรษฐกิจแบบเปิด หากการผลิตในประเทศขยายตัวไม่ทัน
ก็จะมีการนำสินค้าชนิดเดียวกันเข้ามาจากต่างประเทศเพื่อให้พอใชE
ก็จะเป็นการผ่อนปรนไม่ให้ภาวะเงินเฟ้อยาวนาน
ถ้าต้นทุนสูง และอุตสาหกรรมอยู่ในภาวะที่แข่งขันกันจนกำไรที่ผู้ประกอบการได้รับ
เป็นกำไรปกติ ผู้ผลิตต้องเพิ่มราคาจึงจะอยู่ไดE
แม้ว่าการเพิ่มราคานี้โดยทั่วไปมักจะเป็นการเพิ่ม ครั้งเดียว
แต่มักจะกระทบกับอุตสาหกรรมอื่น จนมีการเปลี่ยนแปลงราคาอย่างต่อเนื่องได้เช่นกัน
ดังนั้นภาวะเงินเฟ้อเมื่อมองในระยะสั้นจึงค่อนข้างจะเห็นว่ามาจากต้นทุนที่สูงขึ้น
แต่ในระยะยาวโดยทั่วไปเป็นการที่ความต้องการสูงตามสาเหตุในข้อ 1
มากกว่า ผลทางด้านจิตวิทยา เมื่อมีข่าวว่าสินค้าจะขาดแคลน หรือจะเกิดภาวะเงินเฟ้อ ก็จะมีการกักตุน หรือเร่งขึ้นราคาก่อนหน้า ที่จะเกิดความจำเป็น เพราะพ่อค้าและผู้ผลิตคาดว่าอำนาจซื้อจะลดลงเนื่องจากภาวะ เงินเฟ้อ จึงต้องเพิ่มอำนาจซื้อ นอกจากนี้การดำเนินนโยบายที่รุนแรง ก็ทำให้สาธารณชนเกิดความตระหนกและก่อปฏิกิริยา ที่ทำให้ภาวะเงินเฟ้อสูงขึ้นไปกว่าที่ควร
|
© สำนักดัชนีเศรษฐกิจ กรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชยE โทร. (02)622-2443 โทรสาร. (02)622-2484 |
![]() ![]() |